Home -> Multimedia
Multimedia
อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทย ไม่ได้สร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมมากในระดับที่มาเลเซีย และอินโดนีเซียก่อไว้ การส่งเสริมให้ได้รับฉลากตามเกณฑ์ของ The Round......[+]
การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพที่มีผลต่อเศรษฐกิจของจังหวัดภาคใต้ตามแนวทางความร่วมมือแผนงาน IMT-GT
3-4 มีนาคม 2565 จัดโดย CMGF Secretariat Thailand...[+]
BOI ร่วมกับ สวค. ขอเชิญร่วมงาน “โอกาสการลงทุนไทยในสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ำน สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐซูดำน สาธารณรัฐอินเดีย และสำธำรณรัฐประชาชนบังกลาเทศ” วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา 08.00 – 16.30 น. ณ ห้องวิภาวดี Ballroom A โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าว ...[+]
  
จากการที่ประเทศส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ใช้การส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติมาเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ การใช้สิทธิพิเศษทางด้านภาษีและการขยายโครงสร้างพื้นฐานได้เป็นเครื่องมือหลักในการส่งเสริมนโยบายดังกล่าว แต่อย่างไรก็ดี ปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือแรงงานซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างความเข้าใจถึงคุณลักษณะของแรงงานในแต่ละประเทศ ดังนั้น บทความฉบับนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอคุณลักษณะสำคัญของแรงงานในประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศเวียดนาม โดยมีประเด็นที่สำคัญดังนี้ (1) ภาพรวมและคุณลักษณะตลาดแรงงานของไทย (2) ภาพรวมและคุณลักษณะของตลาดแรงงานของอินโดนีเซีย (3) ภาพรวมและคุณลักษณะของตลาดแรงงานของเวียดนา และ (4) แนวโน้มในอนาคตและปัจจัยท้าทาย...[+]
 
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ถือเป็นปัจจัยขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน เนื่องจากเป็นปัจจัยที่มีส่วนส่งเสริมการขยายฐานเม็ดเงินลงทุนและเพิ่มอัตราการจ้างงานภายในภูมิภาค -ขณะนี้ อาเซียนกำลังเผชิญกับวิวัฒนาการและแนวโน้มด้านการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่สำคัญในช่วงเวลาที่ผ่านมา กล่าวคือ การลงทุนโดยตรงทั้งขาเข้าและขาออกทั้งหมดภายในอาเซียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
บทความฉบับนี้ ได้ทำการสรุปสถานการณ์การลงทุนโดยตรงของอาเซียนทั้งขาเข้าและขาออก โดยเน้นการวิเคราะห์ข้อมูลและนโยบายในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของประเทศต่างๆ ภายในอาเซียน........[+]
 
บทวิเคราะห์นี้ ตั้งประเด็นคำถามที่น่าสนใจ คือ “เหตุผลจำเป็นใดที่พวกเขา และไทยจะต้องออกไปลงทุนยังต่างประเทศ” และที่สำคัญกว่า คือ “จะออกไปได้อย่างไร และ รัฐต้องทำอย่างไรบ้าง” เพื่อส่งเสริมการออกไปลงทุนต่างประเทศ ในบทความนี้จะกล่าวถึง สถานการณ์การลงทุนต่างประเทศของไทยในปัจจุบัน และบทเรียนจากกรณีศึกษาของประเทศญี่ปุ่นและจีน...[+]
 
บทวิเคราะห์นี้นำเสนอผลการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งเสริมการลงทุนของไทย กล่าวคือ (1) ปัจจัยเชิงเศรษฐกิจโลก อันเนื่องมาจากสถานการณ์วิกฤตภาคการเงินในสหรัฐฯ เมื่อ 8 ปีที่ผ่านมามีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อเนื่องมายังสถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบันอย่างมาก ในขณะที่ประเทศต่างๆ ในโลกดูเหมือนว่าจะไม่ได้อานิสงส์จากการฟื้นตัวของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เคยเป็นหัวรถจักรที่ยิ่งใหญ่ในอดีต รวมถึงการปรับตัวของเศรษฐกิจจีน ญี่ปุ่น และยุโรป โดยปัญหาหลักมาจากการเปลี่ยนแปลงห่วงโซ่การผลิตของโลกที่เกิดขึ้นในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา (2) ปัจจัยที่มิใช่เศรษฐกิจ เช่น ปัญหาผู้ก่อนการร้ายและผู้อพยพลี้ภัย ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจโลกในปี 2559 และส่งผลกระทบต่อการส่งเสริมการลงทุนของไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว...[+]
 
ความตกลง TPP เป็นความตกลงที่ไทยไม่ได้เข้าร่วม และเข้าร่วมไม่ได้ (ไม่ทัน) จริงหรือไม่? การไม่เข้าร่วมความตกลง TPP จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยมากน้อยเพียงใด? และประเทศไทยควรวางบทบาทของตนเองในบริบทเศรษฐกิจโลกอย่างไร? มาร่วมกันค้นหาคำตอบได้ในบทความฉบับนี้...[+]
 
ในยุคปัจจุบัน การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศอย่างเสรีนั้นมีบทบาทสำคัญอย่างมาก และถือเป็นหัวใจในการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลก โดยเฉพาะประเทศตลาดเปิดใหม่ที่มีการเติบโตสูงเช่นกลุ่ม BRICS ซึ่งประกอบด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้ ประเทศกลุ่ม BRICS มีจำนวนประชากร ประมาน 3,600ล้านคน หรือ ร้อยละ 50 ของประชากรโลก มี GDP รวม 16.6 หมื่นล้านดอลล่าสหรัฐ หรือ ร้อยละ 22 ของ GDP โลก กลุ่ม BRICS จึงถือได้ว่าเป็นกลุ่มประเทศที่น่าสนใจอย่างมากในเชิงของการเป็นตลาดที่เติบโตเร็วและเป็นเป้าหมายสำหรับประเทศต่างๆที่ต้องการจะขยายดุลการค้าของตน รวมไปถึงประเทศไทย...[+]
โอกาสการลงทุนในตลาดใหม่ (มองโกเลีย, ยูกันดา, ศรีลังกา, อุสเบกิซสถาน, โมซัมบิค)
(“The Potential Investment Opportunities for Thai businesses in Sri Lanka, Uganda, Mozambique, Uzbekistan, and Mongolia”)

โครงการการศึกษานี้เป็นโครงการเพื่อแนะนำกฎระเบียบ เปรียบเทียบศักยภาพ แนะนำลู่ทางทำธุรกิจ อุตสาหกรรมที่น่าสนใจ และบรรยากาสการลงทุนโดยรวม...[+]
“คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาถึง อุปสรรคทางการค้า ในตลาด “ยา” ที่สำคัญของประเทศไทย 3 ประเทศ ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย และเมียนมาร์ ผลการศึกษาพบว่า...”...[+]
“ถ้ากู้เงินและทำให้มีรายได้ ก็เท่ากับ จะใช้หนี้ได้ ไม่ต้องติดหนี้ ไม่ต้องเดือดร้อน ไม่ต้องเสียเกียรติ กู้เงินนั้น เงินจะต้องให้เกิดประโยชน์ มิใช่กู้สำหรับไปเล่นไปทำอะไรที่ไม่เกิดประโยชน์” (พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ: ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐) ...[+]
“สามารถพูดได้ว่า ตอนนี้มี FTA ในทุกที่….FTA ได้กลายมาเป็นวิถีใหม่ที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ สิ่งที่ไทยต้องดำเนินการต่อไปคือ จะต้องบริหารจัดการเรื่อง FTA อย่างเหมาะสม….อีกทั้งไทยจะต้องมีความพร้อมกับผลของข้อตกลง FTA และหาแนวทางแก้ไขผลกระทบหลังจากการทำ FTA ในแต่ละข้อตกลงด้วย และท้ายที่สุดทุกข้อตกลงมักจะมีความเสี่ยง ดังนั้น นักธุรกิจไทยก็ต้องพร้อมเผชิญกับมันเช่นกัน”(ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน และ อดีตที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ มูลนิธิ สวค.)...[+]
สืบเนื่องจากอดีต-ปัจจุบันการดำเนินงานด้านการค้าต่างประเทศของฝ่ายการค้าต่างประเทศ ธนาคารออมสิน ยังไม่ได้ดำเนินการอย่างเต็มรูปแบบ ยังคงเป็นการ Outsource การดำเนินงานบางขั้นตอนให้แก่ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM Bank) ทำให้ต้องมีการแบ่งปันรายได้ (Income Sharing) ระหว่างกัน...[+]
โครงการการให้ความรู้ทางการเงินแก่ประชาชนปี 2556 ดำเนินการสำรวจความรู้ทางการเงินของประชาชนไทยทั่วประเทศจำนวน 6,000 ตัวอย่าง ในช่วงเดือน มิถุนายน ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ผลการสำรวจพบว่า ประชาชนไทยส่วนใหญ่มีความรู้ทางการเงินในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำและระดับต่ำรวมกันเป็นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 70 จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาส่งเสริมให้ดียิ่งขึ้นต่อไป นอกจากนี้ เรา ยังได้พัฒนาเว็บไซต์ (website) ใหม่ในชื่อ www.financialeducation.or.th เพื่อเผยแพร่ผลการสำรวจความรู้ทางการเงินของประชาชนในครั้งนี้ และเพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลและความรู้ทางการเงิน ระหว่างประชาชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป...[+]
 
มูลนิธิ สวค. ได้สนับสนุนการดำเนินการของสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสากิจ (สคร.) ในการเพิ่มบทบาทการลงทุนร่วมภาครัฐและเอกชนในรูปแบบ Public Private Partnerships (PPPs) เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการลงทุนของภาครัฐและให้เอกชนมีส่วนร่วมลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ......[+]